บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก ตุลาคม, 2020

(เพ้อ)ฝัน

รูปภาพ
 เพราะมีฝันจึงทนสู้เพื่อสร้างฝัน เพื่อสักวันฝันที่ใฝ่จะไปถึง แม้อุปสรรคมากมีเทียวฉุดดึง แค่เพียงครึ่งที่วาดหวังฉันยังฝัน

ผิงแดดหนาว

รูปภาพ
 ลมหนาวร้องเพลง ต้นข้าวเริงลม น้ำค้างจับเกาะใบข้าว นกกระจิบไม่ร้องเพลง ชายชราเก็บกู้คันเบ็ด ผิงแดดเช้า คลายหนาว พึมพำบทกวีนิรนาม ไม่มีเสียงระฆังเช้าจากวัดโบราณ โลกนิยามความจริงไม่เท่ากัน...

เรืองรวง

รูปภาพ
 หมาดฝน หม่นหมอก หยอกเช้า หนาวน้ำค้าง เรือนร่างตุลาคม เรืองรวงยังพริ้วไหว รับลมหนาว...

คนขายก่อง

รูปภาพ
 "กี่ก่องต่อวัน กี่ฝันเฝ้าฝัน ภาระหนี้สินผูกพัน หยาดเหงื่อแรงกาย ทั้งที่ยังไม่รู้อนาคต อาชีพที่ไม่แน่นอนเรื่องรายได้ แต่ใจ... พร้อมที่จะฝัน เผื่อสักวัน เปิดร้านขายก่อง..."

เมล็ดพันธุ์

รูปภาพ
 กว่าจะเป็นเมล็ดพันธุ์ กี่หยดล้านเหงื่อ กี่เหนื่อยล้า ฤดูทำนา บางซูบโซ ป่วยไข้ กร้านแดด กรำฝน ทนหนาว ขายข้าว แต่ละที ซื้อปลาทูได้ยาไส้ กรรม...

ตะเคียนตายซาก

รูปภาพ
เรื่องราวของการสร้างที่อยู่อาศัย ค่อมทับซากต้นตะเคียน บางที คุณอาจเจอเรื่องราวเขย่าขวัญแบบนี้

พระเกตมาลา ผู้สร้างนครวัด มาประทับที่ อาณาจักรชวาทวีป กรุงศรีพุทธิ พ.ศ.๑๓๔๖

รูปภาพ
 พระเกตมาลา ผู้สร้างนครวัด มาประทับที่ อาณาจักรชวาทวีป กรุงศรีพุทธิ พ.ศ.๑๓๔๖ สืบเนื่องจากรัฐของชนชาติทมิฬโจฬะ ได้เคยส่งกองทัพเข้ายึดครอง อาณาจักรคามลังกา เมื่อปี พ.ศ.๑๓๓๓ เป็นที่มาให้ มหาจักรพรรดิพ่อพระทอง ต้องนำกองทัพเสียม เข้าทำสงครามขับไล่ข้าศึกทมิฬโจฬะให้ออกไปจากอาณาจักรคามลังกา สงครามที่อาณาจักรคามลังกา ครั้งนั้น พ่อพระทอง ได้ พระนางทวดี เป็นชายา จนพระนางทวดี ทรงพระครรภ์ เมื่อประสูติพระราชโอรส มีนามว่า เจ้าชายเกตุมาลา จนกระทั่งปี พ.ศ.๑๓๓๙ มหาจักรพรรดิพ่อพระทอง(สิทธิยาตรา) ได้สำเร็จภารกิจ ในการทำสงครามปราบปราม อาณาจักรโจฬะน้ำ(เขมรน้ำ) เรียบร้อยแล้ว ก็ได้เสด็จไปยัง อาณาจักรคามลังกา อีกครั้งหนึ่ง เพื่อตามหา พระราชโอรส พระเกตมาลาซึ่งมีพระชนมายุ ๕ พรรษา(พ.ศ.๑๓๔๔) กับ พระนางทวดี ซึ่งหายสาบสูญไป เพื่อนำไปเลี้ยงดูบวชเรียน ณ กรุงศรีพุทธิ(ดอนธูป) แต่ไม่พบ จนกระทั่ง พ.ศ.๑๓๔๕ มหาจักรพรรดิพ่อพระทอง เสด็จสวรรคต โดยไม่เคยพบ เจ้าชายเกตุมาลา อีก ๒ ปีต่อมา(พ.ศ.๑๓๔๖) เชื้อสายราชวงศ์ไศเลนทร์ อาณาจักรคามลังกา ต้องเดินทางมาเคารพพระบรมศพ ของ มหาจักรพรรดิพ่อพระทอง จึงได้นำ เจ้าชายเกตมาลา เดินทางมาเคา...

พระนางศิลาขาว ผู้สร้าง สระอาบน้ำพุร้อน ที่ภูเขาสุวรรณคีรี พ.ศ.๑๑๙๗

รูปภาพ
  (เกร็ดประวัติศาสตร์) พระนางศิลาขาว ผู้สร้าง สระอาบน้ำพุร้อน ที่ภูเขาสุวรรณคีรี พ.ศ.๑๑๙๗ เรื่องราวของ พระนางศิลาขาว ผู้สร้างสระน้ำพุร้อน ในสมัยโบราณ ไม่เคยพบในหลักฐานประวัติศาสตร์ใดๆ มาก่อน แต่พบว่า มีประชาชนส่วนหนึ่งในท้องที่ บ้านพรุยายชี ต.ปากหมาก อ.ไชยา จ.สุราษฎร์ธานี นิยมบวงสรวงเซ่นไหว้ พระนางศิลาขาว หรือ พระนางหินขาว เป็นประเพณีสืบทอดยาวนานมาแล้ว เรื่องราวของ พระนางศิลาขาว เป็นที่สนใจมากขึ้นที่ สระน้ำพุร้อน ของ สยามน้ำพุร้อน ไชยา เนื่องจากมีผู้ป่วยอัมพฤต ที่มาอาบน้ำพุร้อน ที่ สยามน้ำพุร้อน ไชยา ได้หายป่วยจากอัมพฤต จึงได้มาสร้าง ศาลพระนางศิลาขาว ขึ้นบริเวณสามแยกทางเข้า สยามน้ำพุร้อน ไชยา เพื่อถวายให้เป็นที่ประทับดวงวิญญาณ ของ พระนางศิลาขาว หลังจากการที่ชาวท่าข้าม ได้มาขอสร้างศาลที่ประทับดวงวิญญาณ ของ พระนางศิลาขาว ได้เกิดเหตุการณ์ต่างๆ ที่ดวงวิญญาณของ พระนางศิลาขาว จะไปประทับร่างสัตรีที่ชอบแต่งชุดขาวชีพราหม ที่มาอาบน้ำพุร้อน บ่อยครั้ง ผลการซักถามดวงวิญญาณที่มาประทับร่างหลายครั้ง และการตรวจสอบหลักฐานประวัติศาสตร์ต่างๆ สามารถสรุปเรื่องราวของ พระนางศิลาขาว ผู้สร้างสระอาบน้ำพุ...

ปราสาทวัดพู มรดกโลกแห่งแขวงจำปาสัก

รูปภาพ
ปราสาทวัดพู มรดกโลกแห่งแขวงจำปาสัก ปราสาทวัดพู ( VAT PHOU) เป็นโบราณสถานในอารยธรรมเขมรที่ตั้งอยู่ในดินแดนประเทศลาวตอนใต้ ส่วนที่เป็นแขวงจำปาสักในปัจจุบัน ถือได้ว่าเป็นปราสาทเขมรที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศลาว โบราณสถานแห่งนี้มีประวัติย้อนไปได้ไกลถึงยุคแรกเริ่มก่อตั้งอาณาจักรกัมพูชาโบราณ และคงความสำคัญสืบมาในคตินิยมของชาวลาวอีกด้วย ด้วยเหตุนี้ปราสาทวัดพูจึงได้รับการรับรองขึ้นทะเบียนจาก UNESCO ให้เป็น “ มรดกโลก ” ในปี พ.ศ. 2545 ทำเลที่ตั้ง ปราสาทวัดพูตั้งอยู่บริเวณเชิงภูเขาลูกใหญ่ทางฝั่งตะวันตกของแม่น้ำโขง ทางตอนใต้ของเมืองจำปาสัก ห่างจากเมืองปากเซไปประมาณ 30 กิโลเมตร ภูเขาซึ่งเป็นที่ตั้งของปราสาทวัดพูแห่งนี้ชาวลาวนิยมเรียกชื่อว่า “ ภูเกล้า ” สื่อความหมายถึงความเคารพประดุจยกไว้เหนือเศียรเกล้า ตัวปราสาทวัดพูหันหน้าไปทางทิศตะวันออก และวางแผนผังเป็นแนวยาวตามลักษณะของปราสาทเขมรที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ที่เป็นภูเขา อาจเทียบเคียงได้กับปราสาทเขาพระวิหาร ที่มีแผนผังคล้ายคลึงกัน ประวัติความเป็นมาโดยสังเขป บริเวณใกล้เคียงที่ตั้งของปราสาทวัดพูเคยมีเมืองโบราณแห่งหนึ่งชื่อว่า “ เสดถะปุระ ” ( เ...